top of page

Mangrove Plantation

united_kingdom_round_icon_256.png

One of the core actions of Klong Toh Lem Academy Foundation (KTLA) is the protection of the environment. Villagers in Kok Payom have always been particularly concerned about environmental protection, even before the foundation of KTLA. Through the Kok Payom Community Forest Conservation Department (KCFC), they have been active in this direction since 2003 – for more info on KCFC visit Our History page.

Since its early developments, the environmental action focused on the preservation of mangrove trees and the mangrove forest surrounding the village. Most of the locals earn a living from fishing and they know well how essential are mangroves for a thriving marine and coastal ecosystem.

P1050260.JPG
IMG_1776.JPG

There are about 80 different species of mangrove trees. All of these trees grow in areas with low-oxygen soil, where slow-moving waters allow fine sediments to accumulate. Mangrove forests only grow at tropical and subtropical latitudes near the equator because they cannot withstand freezing temperatures.

Many mangrove forests can be recognized by their dense tangle of prop roots that make the trees appear to be standing on stilts above the water. This tangle of roots allows the trees to handle the daily rise and fall of tides, which means that most mangroves get flooded at least twice per day.  The roots also slow the movement of tidal waters, causing sediments to settle out of the water and build up the muddy bottom.

Mangrove forests stabilize the coastline, reducing erosion from storm surges, currents, waves, and tides. The intricate root system of mangroves also makes these forests attractive to fish and other organisms seeking food and shelter from predators.

A unique mix of marine and terrestrial species lives in the mangrove ecosystem. The still, sheltered waters among the mangrove roots provide protective breeding, feeding, and nursery areas for snapper, tarpon, oysters, crabs, shrimp and other species important to commercial and recreational fisheries. Herons, brown pelicans, and spoonbills all make their nests in the upper branches of mangrove trees*.

The Mangroves

Our Planting Day

Since 2016, KTLA in cooperation with the Kok Payom Community Forest Conservation Department (KCFC) has organized a yearly planting event in which volunteers and locals work together to plant mangrove trees in Klong Toh Lem and in the surrounding forest. The mangrove trees that are planted are previously nursed throughout the year in the island. KTLA usually organizes international workcamps in order to prepare the area for the planting day.

In 2017, the Kok Payom Community Forest Conservation Department (KCFC) signed a partnership with the Thai Coastal and Marine Department. Since then, they have been receiving support for organizing an even bigger yearly Planting Event where also baby shrimps and fishes are released in the waters.

In 2019, the Planting Day hosted the presentation of the “Act 2558 to promote the management of marine and coastal resources” by the Director of Networking for the Coastal and Marine Department. 600 people participated in the activities and at least 200 mangrove trees were planted.

IMG_1710.JPG
The nursery.JPG
Thailand Icon

หนึ่งในกิจกรรมหลังของมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีคือการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ชาวบ้านในชุมชนบ้านโคกพยอมมีความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติตั้งแต่ก่อนสร้างมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีจนกระทั่งปัจจุบัน โดยได้เริ่มดำเนินการผ่านทางกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 (สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนสามารถดูได้ที่ ประวัติความเป็นมาของเรา)

การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมมุ่งเน้นไปที่การอนุรักษ์ป่าชายเลนบริเวณรอบชุมชน ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงและพวกเขารู้ดีว่าป่าชายเลนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง

P1050260.JPG
IMG_1776.JPG

ป่าชายเลน

ภายในป่าชายเลนมีต้นโกงกางประมาณ 80 ชนิดที่แตกต่างกัน ต้นโกงกางเหล่านี้เติบโตในพื้นที่ที่มีออกซิเจนต่ำและมีการเคลื่อนไหวของน้ำอย่างช้าๆทำให้เกิดตะกอนสะสม ป่าชายเลนเติบโตในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนใกล้กับเส้นศูนย์สูตรเท่านั้นเพราะไม่สามารถทนต่ออุณหภูมิเยือกแข็งได้ ป่าชายเลนหลายแห่งสามารถรับรู้ได้ด้วยรากไม้ที่หนาแน่นซึ่งทำให้ต้นไม้ดูเหมือนจะยืนอยู่บนเสาเหนือน้ำ การแผ่กระจายของรากทำให้ต้นไม้สามารถจัดการกับกระแสน้ำที่ขึ้นลงในทุกๆวัน ซึ่งหมายความว่าป่าชายเลนส่วนใหญ่จะถูกน้ำท่วมอย่างน้อยวันละสองครั้ง ทำให้เกิดตะกอนสะสมจากน้ำและสร้างตะกอนก้นโคลน  

ป่าชายเลนสร้างความมั่นคงให้กับชายฝั่ง ลดการพังทลายจากพายุกระแสน้ำ คลื่น และกระแสน้ำ ซึ่งระบบรากที่ซับซ้อนของป่าชายเลนทำให้ป่าแห่งนี้เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ โดยเป็นแหล่งอาหารและที่พักพิงจากสัตว์นักล่า

การผสมผสานที่เป็นเอกลักษณ์ของสัตว์ทะเลและสัตว์บกที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศป่าชายเลน รวมถึงน้ำนิ่งในรากป่าโกงกางที่ให้การป้องกัน การเพาะพันธุ์ การให้อาหาร และพื้นที่เพาะชำสำหรับปลากะพงทาร์พอน หอยนางรม ปู กุ้ง และสัตว์สายพันธุ์อื่น ๆ ที่มีความสำคัญต่อการทำประมงเชิงพาณิชย์ รวมถึงมีความสำคัญต่อนกกระสา นกกระยางสีน้ำตาล และนกปากช้อนที่ล้วนทำรังอยู่บนต้นโกงกาง *

วันปลูกป่าของเรา

นับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2559 ที่มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีได้ทำงานร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน และได้จัดการกิจกรรมปลูกป่าขึ้นทุกปี โดยอาสาสมัครและชาวบ้านร่วมกันปลูกต้นโกงกางบริเวณคลองคลองโต๊ะเหล็มและบริเวณป่าโดยรอบ  ต้นโกงกางที่ปลูกก่อนหน้านี้ได้รับการดูแลตลอดทั้งปีในโคกพยอม โดยมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีมักจะจัดค่ายอาสาระหว่างประเทศเพื่อเตรียมพื้นที่สำหรับวันปลูกป่าชายเลน

ในปีพ.ศ.2560 กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนได้ลงนามความร่วมมือกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง นับตั้งแต่นั้นมาพวกเขาได้รับการสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการปลูกป่าชายเลนที่ยิ่งใหญ่ขึ้นทุกปีซึ่งมีการปล่อยลูกกุ้งและปลาในน่านน้ำด้วย

ในปีพ.ศ.2562  วันปลูกป่าเป็นเจ้าภาพในการนำเสนอ“ พระราชบัญญัติ 2558 เพื่อส่งเสริมการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง” โดยผู้อำนวยการเครือข่ายสำหรับกรมชายฝั่งและทะเล มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 600 คนและปลูกต้นโกงกางอย่างน้อย 200 ต้น

IMG_1710.JPG
The nursery.JPG

*Source: National Ocean Service – National Oceanic and Atmospheric Administration U.S. Department of Commerce

การปลูกป่าชายเลน

bottom of page