top of page
Kok Payom Community Forest Conservation

Our History

united_kingdom_round_icon_256.png

Klong Toh Lem Academy's Chronicles:

2003-2006

In 2003, a group of villagers in Kok Payom, Langu founded the Kok Payom Community Forest Conservation Department (KCFC) with the aim of protecting community resources through a coordinated action in the village. Early activities included planting trees and other experiments aimed at enhancing the centrality of the mangrove forest in the community, in cooperation with the Thai Costal and Marine Department. The action of KCFC found for the first time official recognition in 2006 when the Green World Foundation (linked to a Thai petroleum company) awarded the Department with a monetary prize for its action.

2006-2008

The funds received by the Green World Foundation were used by the KFCF Department for implementing new projects focused on forest conservation and environmental protection. As first trial, the villagers tried to create a fish farm and a community farm in the middle of the mangrove forest, without succeeding. They kept on insisting without losing motivation and they moved on to a second trial in which they tried to divide the forest in different sections, each one with a specific purpose: a nursery for the mangrove trees, an area for cutting and re-planting, an area for different plantations (fruits, rubber and rice fields). Despite their good spirit and motivation, they failed in the implementation both because of lack of technical knowledge on the mangrove forest special eco-system and because of tribal conflicts within the community that prevented these attempts to thrive.

2009-2012

In 2009, DaLaa – International Volunteers for Social Development Association arrived in Kok Payom and was cast by the spell of this very special local community. From that year the association, in cooperation with the local community, created a hosting project for volunteers in the village. The action of DaLaa in the village started with the provision of afternoon English programs and extra-curricular activities for kids focused on arts and music. The activities contributed to build up again the fire of inspiration in the local community and consequently new initiatives were started, such as evening gatherings among the former members of KCFC, cinema nights and workshops on project management. Thanks to these activities the community feeling grew stronger and the villagers found once again the motivation for re-

KCFC, KLTA, DaLaa

starting KCFC. KCFC and DaLaa started then to host long term volunteers and short-term workcamps in the village, thanks to which they renovated their headquarters (Salaa), planted mangrove trees and built an education centre in the middle of the mangrove forest of Klong Toh Lem. The centre was initially supposed to be a place for people to rest after plantation activities in the mangrove forest, but it ended up serving a much bigger purpose. Klong Toh Lem Academy became in fact an alternative school for the kids of the village. 

2012-2013

These were the years in which Klong Toh Lem Academy found its place in the village and this was the time for new activities to be established in connection to the new education centre. The initial idea was to experiment bridging environmental protection activities and non-formal education and it revealed itself a huge success. Every Sunday, 30 kids from Kok Payom sailed the boat to Klong Toh Lem where they had the chance to learn about how to live in harmony with the nature, Islamic education, languages, the world and themselves. All the activities were provided by villagers and international volunteers and they became something to look forward to during the week for adults and young people of the village. 

2014-2015

In 2014, Klong Toh Lem submitted a proposal to the Thai Research Found for organizing a 2-year research focused on the early development of a community learning centre. The proposal was accepted and the research had the double aim of illustrating: 1) KTLA’s approach in fighting problems faced by children and youth in rural Thailand and examples activities; 2) the best practices of KTLA and KCFC in community mangrove forest protection operations.  

2016-2017

Klong Toh Lem Academy was registered first as community-based organization in 2016. Afterwards, in 2017, it was registered as a foundation with the name “Klong Toh Lem Academy Foundation”. The need of making the organization a formal one came from the analysis of the outcomes of the research project carried out in 2014-15. The main idea behind the formal structure of KTLA is to provide a community foundation for society and life-long learning in the village. The core value of KTLA is the importance of education for developing oneself, the family and the community as a whole.

2018-2019

In 2018, KTLA started hosting the first EU Aid Volunteers. The basic organization management competences of KTLA were not sufficient anymore to its ambitious goals. Hence, EU Aid volunteers specialized in organization development and capacity building were called to support the foundation’s strategy as NGO and education provider.  Since the beginning of the EU Aid programme in Kok Payom, the foundation has carried out some new projects such as a community needs and strengths assessment of the village and the formalization of a partnership with the Satun Community College aimed at matching community educational needs and curricula of the formal education providers. This is all part of the long-term strategy of the foundation that foresees an ambitious vision of growth and development both internal to the organization and to the local community.

Thailand Icon

ประวัติความเป็นมาของมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี

พ.ศ. 2546-2549

ในปีพ.ศ. 2546 กลุ่มชาวบ้านในชุมชนบ้านโคกพยอม อำเภอละงู ได้ร่วมกันก่อตั้งกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนขึ้น โดยมีวัตุประสงค์ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติภายในชุมชนผ่านกันประสานงานกันภายในหมู่บ้าน ในระยะแรกประกอบด้วยกิจกรรมปลูกป่า รวมถึงกิจกรรมการทดลองอื่น ๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเป็นศูนย์กลางของป่าชายเลนในชุมชน โดยร่วมมือกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การดำเนินงานของกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2549 เมื่อมูลนิธิโลกสีเขียว (ร่วมมือกับบริษัทปิโตรเลียมของไทย) ได้มอบรางวัลให้กับกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนพร้อมเงินรางวัลสำหรับการดำเนินการ

พ.ศ. 2549-2551

มูลนิธิโลกสีเขียวได้บริจาคเงินให้แก่กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อเป็นเงินสนับสนุนในการทำโครงการใหม่ๆ โดยมุ่งเน้นไปที่การอนุรักษ์ป่าไม้และสิ่งแวดล้อม ในการทดลองครั้งแรกชาวบ้านพยายามสร้างฟาร์มปลาและชุมชนเกษตรกลางป่าชายเลนแต่ไม่ประสบผลสำเร็จ ต่อมาพวกเขาจึงได้แบ่งป่าชายเลนออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกสำหรับการดำเนินงานที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ อาทิเช่น แหล่งอนุบาลต้นโกงกาง พื้นที่สำหรับตัดต้นไม้และปลูกใหม่ พื้นที่สำหรับทำสวนผสม เช่น ผลไม้ ยางพารา และนาข้าว ถึงแม้พวกเขาจะมีความพยายามและแรงจูงใจในการพัฒนาพื้นที่มากแค่ไหน แต่พวกเขาก็ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากขาดซึ่งทักษะและกระบวนการความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลน รวมถึงประสบปัญหาความขัดแย้งของเผ่าภายในชุมชนที่ขัดขวางการพัฒนาของชุมชน

พ.ศ. 2552-2555

ในปี พ.ศ. 2552 สมาคมอาสาสมัครนานาชาติเพื่อการพัฒนาสังคม (ดาหลา) ได้เดินทางมายังชุมชนบ้านโคกพยอม พวกเขารู้สึกประทับใจในหมู่บ้านแห่งนี้ราวกับต้องมนต์สะกด ภายหลังจากปีนั้นทางสมาคมจึงได้ร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่นสร้างโครงการโฮสต์สำหรับอาสาสมัครในชุมชน

การดำเนินการของดาหลาในชุมชนเริ่มด้วยการจัดโปรแกรมภาษาอังกฤษในช่วงบ่ายและกิจกรรมเสริมหลักสูตรสำหรับเด็กที่เน้นศิลปะและดนตรี

โดยกิจกรรมทั้งหมดมีส่วนช่วยในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนในชุมชนท้องถิ่น รวมถึงก่อให้เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆ อาทิเช่น

การประชุมร่วมกันระหว่างอดีตสมาชิกของกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน โรงภาพยนตร์กลางคืน และการประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการโครงการ

ต้องขอบคุณกิจกรรมเหล่านี้ที่ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งขึ้นและชาวบ้านค้นพบแรงจูงใจในการเริ่มต้นกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนอีกครั้ง

KCFC, KLTA, DaLaa

กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนและดาหลาเริ่มต้นจากการเป็นผู้ดูแลกลุ่มอาสาสมัครระยะยาวรวมถึงค่ายระยะสั้นภายในชุมชนด้วยการปรับปรุงสำนักงานใหญ่ (ดาหลา) ปลูกป่าชายเลน และสร้างศูนย์การเรียนรู้ใจกลางป่าชายเลน โดยในระยะแรกคลองโต๊ะเหล็มมีไว้สำหรับเป็นสถานที่พักผ่อนหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมปลูกป่าชายเลน แต่ในภายหลังคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีได้กลายเป็นโรงเรียนทางเลือกให้กับเด็กๆภายในชุมชน

พ.ศ. 2552-2553

เป็นเวลาหลายปีแล้วที่มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีได้ติดต่อและสร้างศูนย์การเรียนรู้ภายในชุมชนแห่งนี้

โดยมีเป้าหมายในการเป็นสะพานเชื่อมระหว่างกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการศูนย์การศึกษานอกระบบซึ่งกิจกรรมดังกล่าวประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยทุกๆวันอาทิตย์ เด็กๆจำนวน 30

คนจากชุมชนบ้านโคกพยอมได้นั่งเรือจากคลองโต๊ะเหล็มไปยังศูนย์การเรียนรู้นอกระบบใจกลางป่าชายเลน เด็กๆเหล่านี้จะได้เรียนรู้การอนุรักษ์ธรรมชาติ การศึกษาเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม ภาษา

รวมไปถึงทักษะในการดำรงชีวิต โดยกิจกรรมที่หมดนี้จัดขึ้นโดยชาวบ้านและกลุ่มอาสาสมัครต่างชาติ ซึ่งเด็กๆเหล่านี้เปรียบเสมือนความหวังและผลผลิตของชุมชนในอนาคต

พ.ศ. 2557-2558

ในปีพ.ศ. 2557 คลองโต๊ะเหล็มได้ส่งข้อเสนอไปยังสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อจัดงานวิจัย 2 ปี โดยมุ่งเน้นไปที่การริเริ่มการพัฒนาของศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ข้อเสนอนี้ได้รับการยอมรับ ทั้งนี้การวิจัยมีจุดประสงค์สองประการคือ 1) มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีมีเป้าหมายในการต่อสู้เกี่ยวกับปัญหาด้านเด็กและเยาวชนที่เผชิญในพื้นที่ชนบทของประเทศไทยและกิจกรรมตัวอย่าง 2) แนวปฏิบัติที่ดีที่สุดของมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีและกลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนในการอนุรักษ์ป่าชายเลนในชุมชน

พ.ศ. 2559-2560

มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีได้รับการจดทะเบียนเป็นองค์กรชุมชนครั้งแรกในปีพ.ศ. 2559 ต่อมาในปีพ.ศ. 2560 ได้รับการจดทะเบียนในฐานะมูลนิธิภายใต้ชื่อ “มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี” ความต้องการในการทำให้องค์กรเป็นทางการมาจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ของโครงการวิจัยที่ดำเนินการในปีพ.ศ.2557-2558 โดยแนวคิดหลักที่อยู่เบื้องหลังโครงสร้างทางการของมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีคือการสร้างรากฐานชุมชนเพื่อสังคมและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายในชุมชน ค่านิยมหลักของมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีคือการให้ความสำคัญของการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองครอบครัวและชุมชนโดยรวม

พ.ศ.2561-2562

ในปีพ.ศ.2561 มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีได้ร่วมมือกับกลุ่มอาสาสมัครเพื่อการช่วยเหลือสังคมจากสหภาพยุโรป (EU Aid Volunteers) ความสามารถในการจัดการองค์กรขั้นพื้นฐานของมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีนั้นไม่เพียงพอสำหรับเป้าหมายที่ท้าทายอีกต่อไป ดังนั้นกลุ่มอาสาสมัครเพื่อการช่วยเหลือสังคมจากสหภาพยุโรปที่เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาองค์กรและการเสริมสร้างศักยภาพจึงให้การสนับสนุนกลยุทธ์ของมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีในฐานะองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) และผู้ให้บริการด้านการศึกษา รวมถึงริเริ่มโครงการสำรวจความต้องการและจุดแข็งของชุมชนคลองโต๊ะเหล็ม นอกเหนือจากการร่วมมือกับกลุ่มอาสาสมัครเพื่อการช่วยเหลือสังคมจากสหภาพยุโรปแล้ว มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมียังร่วมมือกับวิทยาลัยชุมชนสตูล ในการสำรวจความต้องการด้านการศึกษาของชุมชนและจัดหลักสูตรของผู้ให้บริการด้านการศึกษาอย่างเป็นทางการ ทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ระยะยาวของมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมีที่เล็งเห็นถึงวิสัยทัศน์ที่มีความต้องการในการเติบโตและการพัฒนาทั้งภายในองค์กรและภายในชุมชนท้องถิ่น

bottom of page